อุปกรณ์แสดงผล (Output)
วันพุธที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555
หน่วยแสดงผล (Output)
คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจาก หน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะแบนเรียบทั้งตัวเครื่อง) จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดงสะท้อนได้ดี กว่าทำให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตาเมื่อต้องทำงานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควรทำให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้ และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต
การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่ง ที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า การ์ดสำหรับแสดงผลจอภาพ (Display Adapter Card) เป็นวงจรภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานร่วมกับจอภาพ
จำนวนสีที่สามารถแสดงบนจอภาพได้นั้นเป็นตัวกำหนดว่าภาพบนจอจะมีสีสรรสมจริงเพียงใดโดยจอ VGA (Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 640X480 พิกเซล จอ SVGA (Super Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 800X600 พิกเซล จอภาพในปัจจุบันเกือบทั้งหมดใช้จอระดับนี้แล้วจอภาพที่ แสดงจำนวนสี 65,536 หรือ 16 บิตสี จะแสดงความสมจริงได้ดีพอสมควร เหมาะสำหรับงานการฟฟิก มัลติมีเดีย และสิ่งพิมพ์ ส่วนจอภาพที่แสดงจำนวนสี 16,777,216สีจะให้สีสมจริงตามธรรมชาติ สีระดับนี้เหมาะสำหรับงาน ตกแต่งภาพและงานสิ่งพิมพ์ระดับสูง
LCD นี้ย่อมาจาก Liquid Crystal Display ซึ่งหมายความว่า มอนิเตอร์แบบนี้ เป็นแบบผลึกเหลว ผลึกเหลวนี้เป็นสสารที่แทบจะเรียกได้ว่าโปร่งใส และมีคุณสมบัติ ก้ำกึ่งระหว่างของแข็ง และของเหลว คือว่า เมื่อตอนอยู่เฉยๆ เนี่ย ผลึกเหลวจะอยู่ในสถานะ ของเหลว แต่เมื่อมีแสงผ่านมา ก็จะเกิด การจัดเรียงโมเลกุลใหม่ ผลึกเหลวก็จะมีคุณสมบัติ เป็นของแข็งแทน ส่วนแสงที่ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว ก็จะกลับมามีคุณสมบัติเป็นของเหลว เหมือนเดิม
สำหรับปัจจุบันนี้ มอนิเตอร์ LCD นั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นมอนิเตอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โน้ตบุ๊ค และ PDA (พวกเครื่องปาล์ม)รวมไปถึงก้าวมามีบทบาทแทนที่มอนิเตอร์แบบ
CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆ ก็คือ
Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
Thin Flim Transistor (TFT)
จอ LCD แบบ TFT หรือ Thin Film Transistor นั้นถูกพัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของ จอ LCD แบบ DSTN โดยเป็นแบบ Active Matrix ทำให้มีการตอบสนอง ต่อการ เปลี่ยนแปลงของภาพที่เร็ว และมีความคมชัดขึ้น รวมทั้งมอนิเตอร์แบบ TFTจะมีรูปร่างบางกว่า มอนิเตอร์แบบ LCDปกติ จึงทำให้มันมีน้ำหนักเบากว่า และอัตรารีเฟรชของภาพก็ใกล้เคียง กับมอนิเตอร์แบบCRT เนื่องจากว่ากระแสไฟฟ้านั่นวิ่งเร็วกว่าจอ LCD แบบ DSTN
ข้อควรจำ
ใครที่ชอบเปิดคอมฯ และมอนิเตอร์ไว้เป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ใช้งาน อย่าลืมใช้ screen saver เพราะการที่ ลำแสง อิเล็คตรอนถูกยิงออกมาเพื่อ ฉายภาพเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกเรื่อยๆ จะทำให้เจ้าสารเรืองแสงที่เคลือบอยู่ที่ผิวจอ
เสื่อมได้ การใช้ screen saver ก็จะทำให้ลำแสงที่ยิงออกมาเปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ ไม่ได้ฉายซ้ำอยู่ที่เดียวค่ะ
เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)
เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอนหรือการประชุม เนื่องจากสามารถนำเสนอข้อมูลให้ผู้ชม จำนวนมากเห็นพร้อม ๆ กัน อุปกรณ์ ฉายภาพในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่สามารถต่อสัญญาณจาก คอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector) ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใสแผ่นหนึ่ง
อุปกรณ์ฉายภาพก็จะมีข้อแตกต่างกันมากในเรื่องของกำลังส่องสว่าง เนื่องจากยิ่งมีกำลังส่องสว่างสูง ภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากขึ้น กำลังส่องสว่างมีหน่วยวัดค่าอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ ANSI LUMEN โดยการวัดแบบ LUX จะวัดค่าความสว่างที่จุกี่งกลางของภาพ จึงได้ค่าความสว่างสูงที่สุดเมื่อเทียบกับอีก 2 แบบ การวัดแบบ LUMEN จะแบ่งภาพออกเป็น 3 ส่วน คือ บน กลาง และ ล่าง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ ริมซ้าย กลาง และ ริมขวา รวมจุดภาพทั้งหมด 9 จุด แล้วจึงใช้ค่าเฉลี่ยของความสว่างทั้ง 9 จุดคิดออกมาเป็นค่า LUMEN ส่วนการวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมาตรฐานสูงสุด โดยใช้วิธีเดียวกับ LUMEN แต่จะกำหนด ขนาดจอภาพไว้คงที่คือ 40 นิ้ว(หากไม่กำหนด การวัดค่าความสว่างจะสูงขึ้นเมื่อจอภาพมีขนาดเล็กลง)
คุณภาพ ของ งาน พิมพ์ เอก สาร โดย ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วน หนึ่ง ขึ้นกับประสิทธิภาพ ของเค รื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ เป็น อุปกรณ์ ที่ สำคัญ สำหรับ นำ ข้อ มูล ที่ ประมวล ผล แล้ว พิมพ์ ลง บน กระดาษ ตาม ที ่ต้อง การ เครื่องพิมพ์ ที่ ใช้ กัน ใน ปัจจุบัน มี หลาย แบบ หลาย ยี่ห้อ เครื่องพิมพ์ ที่ มี ผู้ นิยม ใช้ งาน สูง ชนิด หนึ่ง คือเครื่องพิมพ์ แบบ จุด (dot matrix printer)
เครื่องพิมพ์ แบบ จุด เป็นเครื่องพิมพ์ ขนาด เล็ก มี ราคา ถูก คุณภาพ อยู่ ใน เกณฑ์ ดี ใช้ งาน ได้ ทั่ว ไป
การ ที่ เรียก ว่าเครื่องพิมพ์ แบบ จุด เพราะ รูป ลักษณะ ตัว อักษร ที่ พิมพ์ ออก มา จะ เป็น จุด เล็ก ๆ อยู่ ใน กรอบ เช่น ตัว อักษร ที่ มี ความ ละเอียด ใน แนว ทางสูง ของ ตัว อักษร 24 จุด และ ความ กว้าง แต่ ละ ตัว อักษร 12 จุด ขนาดแมทริกซ์ของ ตัว อักษร จะ มี ขนาด 24x12 จุด
การ พิจารณา ซื้อเครื่องพิมพ์ แบบ จุด ควร พิจารณา คุณ ลักษณะ ที่ สำคัญ ของเครื่องพิมพ์ ดัง ต่อ ไป นี้
1. จำนวน เข็ม ของ หัว พิมพ์ เครื่องพิมพ์ ที่ ใช้ ทั่ว ไป หัว พิมพ์ มี เข็ม เล็ก ๆ จำนวน 9 เข็ม แต่ ถ้า ต้อง การ ให้ งาน พิมพ์ มี ราย ละเอียด มาก หรือ มี รูป แบบ ตัว หนังสือ สวย ขึ้น หัว พิมพ์ ควร มี จำนวน เข็ม 24 เข็ม การ พิมพ์ ตัว หนังสือ ใน ภาวะ ความ สวย งาม นี้ เรียก ว่า เอ็น แอลคิว (News Letter Quality : NLQ) ดัง นั้นเครื่องพิมพ์ ที่ หัว พิมพ์ มี เข็ม จำนวน 24 เข็ม จะ พิมพ์ ได้ สวย งาม กว่าเครื่องพิมพ์ ที่ หัว พิมพ์ มี เข็ม จำนวน 9 เข็ม
2. คุณภาพ ของ หัว เข็มกับงาน พิมพ์ หัว เข็ม เป็น ลวด ที่ มี กล ไก ขับ เคลื่อน ใช้ หลัก การ เหนี่ยว นำ แม่ เหล็ก ไฟ ฟ้า หัว เข็ม ที่ มี คุณภาพ ดี ต้อง แข็ง สามารถ พิมพ์ สำเนา กระดาษ หนา ได้ สูง สุด ถึง 5 สำเนา คุณสมบัติ การ พิมพ์ สำเนา นี้เครื่องพิมพ์ แต่ ละเครื่องจะ พิมพ์ ได้ ไม่ เท่า กัน เพราะ มี คุณ ภาพ แรง กด ไม่ เท่า กัน ทำ ให้ ความ ชัด เจน ของ กระดาษ สำเนา สุด ท้าย ต่าง กัน
3. ความ ละเอียด ของ จุด ใน งาน พิมพ์ ความ ละเอียด ของ จุด ใน งาน พิมพ์ จะ ขึ้น อยู่กับขนาด ของ หัว เข็ม และ กล ไก การ ขับ เคลื่อน ของเค รื่องพิมพ์ แต่ ละ รุ่น เช่น 360x360 จุด ต่อ นิ้ว 360x180 จุด ต่อ นิ้ว คุณภาพ การ พิมพ์ ภาพกรา ฟิก ขึ้น อยู่กับคุณ ลักษณะ นี้
4. อุปกรณ์ ตรวจ สอบ หัว พิมพ์ เครื่องพิมพ์ แบบ จุด บาง รุ่น จะ มี อุปกรณ์ ตรวจ สอบ หัว พิมพ์ เช่น
การ ตรวจ สอบ ความ ร้อน ของ หัว พิมพ์ เพราะ เมื่อ ใช้ พิมพ์ ไป นาน ๆ หัว พิมพ์ จะ เกิด ความ ร้อน สูง มาก แม้ มี ครีบ ระบาย ความ ร้อน แล้ว ก็ อาจ ไม่ พอ เพียง ถ้า ความ ร้อน มาก อุปกรณ์ ตรวจ ความ ร้อน จะ ส่ง สัญญาณ ให้เครื่องพิมพ์ ลด ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ ลง ครั้ง เมื่อ อุณหภูมิ ลด ลง ก็ จะ เพิ่ม ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ ไป เต็ม พิกัด อีก
การ ตรวจ สอบ ความ หนา ของ กระดาษ เครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ จะ มี อุปกรณ์ ตรวจ สอบ กระดาษ ถ้า ป้อน กระดาษ หนา ไป จะ ทำ ให้ หัว พิมพ์ เสีย หาย ได้ ง่า ย ตัว ตรวจ สอบ ความ หนา จะ หยุด การ ทำ งาน ของเครื่องพิมพ์ เมื่อ ตรวจ พบ ว่า กระดาษ หนา เกิน ไป เพื่อ ป้อง กัน ความ เสีย หาย ของ หัว พิมพ์ นอก จาก นี้ ยัง สามารถ สอบ ว่า กระดาษ หมด หรือ ไม่ อีก ด้วย
5. ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ มี หน่วย วัด เป็น จำนวน ตัว อักษร ต่อ วินาที การ วัด ความ เร็ว ของเครื่องพิมพ์ ต้อง มี คุณ ลักษณะ การ พิมพ์ เป็น จุด อ้าง อิง เช่น พิมพ์ ได้ 300 ตัว อักษร ต่อ วินาที ใน ภาวะ การ พิมพ์ แบบ ปกติ และ ที่ ขนาด ตัว อักษร 10 ตัว อักษร ต่อ นิ้ว แต่ หาก พิมพ์ แบบ เอ็น แอลคิว (NLQ) โดย ทั่ว ไป แล้ว จะ ลด ความ เร็ว เหลือ เพียง หนึ่ง ใน สาม เท่า นั้น การ ทด สอบ ความ เร็ว ใน การ พิมพ์ นี้ อาจ ไม่ ได้ เท่ากับคุณ ลักษณะ ที่ บอก ไว้ ทั้ง นี้ เพราะ ขณะ พิมพ์ จริง เครื่องพิมพ์ มี การ เลื่อน หัว พิมพ์ ขึ้น บรรทัด ใหม่ ขึ้น หน้า ใหม่ การ เลื่อน หัว พิมพ์ ไป มา จะ ทำ ให้ เสีย เวลา พอ สม ควร ความ เร็ว ของเครื่องพิมพ์ แบบ จุด ใน ปัจจุบัน มี ตั้ง แต่ 200-500 ตัว อักษร ต่อ วินาที
6. ขนาด แค่ พิมพ์ เครื่องพิมพ์ ที่ ใช้ งาน กัน อยู่ ใน ขณะ นี้ มี ขนาด แคร่ 2 ขนาด คือ ใช้กับก ระ ดาษ กว้าง 9 นิ้ว และ 15 นิ้ว หรือ พิมพ์ ได้ 80 ตัว อักษร และ 132 ตัว อักษร ใน ภาวะ 10 ตัว อักษร ต่อ นิ้ว
7. ที่ พัก ข้อ มูล คุณ ลักษณะ ใน เรื่อง ที่ พัก ข้อ มูล (buffer) ก็ เป็น เรื่อง สำคัญ เพราะ การ พิมพ์ งาน นั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ จะ ส่ง ข้อ มูล ลง ไป เก็บ ใน ที่ พัก ข้อ มูล ถ้า ที่ พัก ข้อ มูล มี ขนาด ใหญ่ ก็ จะ ลด ภาระ การ ส่ง งาน ของ คอมพิวเเตอร์ไป ยังเครื่องพิมพ์ ได้ มาก ขนาด ของ ที่ พัก ข้อ มูล ที่ ใช้ มี ตั้ง แต่ 8 กิโลไบต์ขึ้น ไป อย่าง ไร ก็ ตาม เครื่องพิมพ์ บาง รุ่น สามารถ เพิ่ม เติม ขนาด ของ ที่ พัก ข้อ มูล ได้ โดย การ ใส่ หน่วย ความ จำ ลง ไป ซึ่ง ต้อง ซื้อ แยก ต่าง หาก
8. ลักษณะ การ ป้อน กระดาษ การ ป้อน กระดาษ เป็น สิ่ง อำนวย ความ สะดวก ใน การ ใช้ งานเครื่องพิมพ์ คุณ ลักษณะ ที่ กำหนด จะ ต้อง ชัด เจน การ ป้อน กระดาษ มี ตั้ง แต่ การ ใช้ หนาม เตย ซึ่ง จะ ใช้กับก ระ ดาษ ต่อ เนื่อง ที่ มี รู ด้าน ข้าง ทั้ง สอง ด้าน เครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ มี หนาม เตย อยู่ แล้ว การ ป้อน กระดาษ อีก แบบ หนึ่ง คือ การ ใช้ ลูก กลิ้ง กระดาษ โดย อาศัย แรง เสียด ทาน ซึ่ง เป็น คุณ ลักษณะ ของเครื่องพิมพ์ ทั่ว ไ ป เครื่องพิมพ์ บาง รุ่น มี การ ป้อน กระดาษ แบบ อัตโนมัติ เพียง แต่ ใส่ กระดาษ แล้ว กด ปุ่ม Autoload กระดาษ จะ ป้อน เข้า ไป ใน ตำแหน่ง ที่ พร้อม จะ เริ่ม พิมพ์ ได้ ทัน ที การ ป้อน กระดาษ เป็น แผ่น ส่วน ใหญ่ จะ ป้อน ด้วย มือ ได้ แต่ หาก ต้อง การ ทำ แบบ อัตโนมัติ จะ ต้อง มี อุปกรณ์ เพิ่ม เพื่อ ทำ หน้า ที่ ดัง กล่าว อุปกรณ์ นี้ จะ มี ลักษณะ เป็น ถาด ใส่ กระดาษ อยู่ ภาย นอก และ ป้อน กระดาษ ไป ที ละ ใบ เหมือนเครื่อ งถ่าย เอก สาร เครื่องพิมพ์ บางเครื่องสามารถ ป้อน กระดาษ เข้าเครื่องได้ หลาย ทาง ทั้ง จาก ด้าน หน้า ด้าน หลัก ด้าน ใต้ ท้องเครื่อง หรือ ป้อน ที ละ แผ่น การ ป้อง กระดาษ หลาย ทางทำ ให้ สะดวก ต่อ การ ใช้ งาน
9. ภาวะ เก็บ เสียง เครื่องพิมพ์ แบบ จุด เป็นเครื่องพิมพ์ ที่ มี เสียง ดัง ดัง นั้น บาง บริษัท ได้ พัฒนา ภาวะ การ พิมพ์ ที่ เสียง เบา เป็น ปกติ เพื่อ ลด ภาวะ ทางเสียง
10. จำนวน ชุด แบบ อักษร เครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ จะ มี จำนน ชุด แบบ อักษร (font) ภาษา อังกฤษ ที่ ติด มากับเครื่องจำนวน 4 ถึง 9 ชุด ขึ้นกับเครื่องพิมพ์ แต่ ละ รุ่น ชุด แบบ อักษร นี้ สามารถ เพิ่ม ได้ โดย ใช้ ตลับ ชุด แบบ อักษร ภาษ าไทย ก็ เป็น สิ่ง สำคัญ เครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ ที่ ขาย ใน เมือง ไทย ได้ รับ การ ดัด แปลง ใส่ ชุด แบบ อักษร ภาษา ไทย ไว้ แล้ว
11. การ เชื่อม ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ การ เชื่อม ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ตาม มาตร ฐาน สากล มี สอง แบบ คือ แบบ อนุกรม และ แบบ ขนาน เครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ มัก ต่อกับคอมพิวเตอร์ โดย มี สาย นำ สัญญาณ แบบ DB25 คือ มี ขนาด จำนวน 25 สาย การ ต่อกับเครื่องพิมพ์ จะ ต้อง มี สาย เชื่อม โยง นี้ ด้วย หาก ต้อง การ ต่อ แบ อนุกรม จะ ต้อง กำหนด ลง ไป ใน เงื่อน ไข เพราะเครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ จะ มี ตัว เชื่อม ต่อ อนุกรม เป็น เงื่อน ไข พิเศษ
12. มาตร ฐาน คำ สั่ง การ พิมพ์ เนื่อง จากเครื่องพิมพ์ Epson ได้ รับ ความ นิยม มา นาน ดัง นั้น มาตร ฐาน คำ สั่ง การ พิมพ์ ของเครื่องพิมพ์ Epson จึง เป็น มาตร ฐาน ที่เครื่องพิมพ์ เกือบ ทุก ยี่ห้อ ใช้ อย่าง ไร ก็ ตามเครื่องพิมพ์ ไอบีเอ็มก็ มี มาตร ฐาน ของ ตน เอง และเครื่องพิมพ์ บาง ยี่ห้อ ก็ ใช้ ตาม
หาก จะ ต่อเครื่องพิมพ์ เข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช เครื่องพิมพ์ จะ ต้อง มี คุณ ลักษณะ ใน เรื่อง ภาวะ การ พิมพ์ แตก ต่าง ออก ไป คือ เป็น แบบ โพสท์สคริปต ์ (postscript)
การ พิมพ์ สี เครื่องพิมพ์ บาง รุ่น มี ภาวะ การ พิมพ์ แบบ สี ได้ การ พิมพ์ แบบ สี จะ ทำ ให้ งาน พิมพ์ ช้า ลง และ ต้อง ใช้ ริบ บอน พิเศษ หรือ ริบ บอน ที่ มี สี
เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ (laser printer) เป็นเครื่องพิมพ์ ที่ กำลัง ได้ รับ ความ นิยม เครื่องพิมพ์ นี้ อาศัย เทคโนโลยี ไฟ ฟ้า สถิตย์ที่ พบ ได้ ในเครื่องถ่าย เอก สาร ทั่ว ไป โดย ลำ แส งจากไดโอด เลเซอร์ จะ ฉาย ไป ยัง กระจก หมุน เพื่อ สะท้อน ไป ยัง ลูก กลิ้ง ไว แสง ซึ่ง จะ ปรับ ตาม สัญญาณ ภาพ หรือ ตัว อักษร ที่ ได้ รับ จาก คอมพิวเตอร์ และ กราด ตาม แนว ยาว ของ ลูก กลิ้ง อย่าง รวด เร็ว สาร เคลือบ บน ลูก กลิ้ง จะ ทำปฎิกิริ ยากับแสง แล้ว เปลี่ยน เป็น ประจุ ไฟ ฟ้า สถิตย ์ ซึ่ง ทำ ให้ ผง หมึก เกาะ ติดกับพื้น ที่ ที่ มี ประจุ เมื่อ กระดาษ พิมพ์ หมุน ผ่าน ลูก กลิ้ง ความ ร้อน จะ ทำ ให้ ผง หมึก หลอม ละ ลาย ติดกับก ระ ดาษ ได้ ภาพ หรือ ตัว อักษร
เนื่อง จาก ลำ แสง เลเซอร์ ได้ รับ การ ควบ คุม อย่าง แม่น ยำ ทำ ให้ ความ ละเอียด ของ จุด ภาพ ที่ ปรากฎ บน กระดาษ สูง มาก งาน พิมพ์ จึง มี คุณภาพ สูง ทำ ให้ ได้ ภาพ และ ตัว หนังสือ ที่ คม ชัด สวย งาม การ พิมพ์ ของเครื่องพิมพ์ เลเซอร์ จะ ไม่ ส่ง เสียง ดัง เหมือนเครื่องพิมพ์ แบบ จุด แต่ จะ เงียบ เหมือนเครื่องถ่าย เอก สาร
เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ที่ นิยม นำ มา ใช้ งานกับเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ ส่วน ใหญ่ จะ มี ความเ ร็วของ การ พิมพ์ ประมาณ 6 ถึง 24 หน้า ต่อ นาที โดย มี ความ ละเอียด ของ จุด ภาพ ประมาณ 300 จุด ต่อ นิ้ว จึง ทำ ให้ ได้ ภาพกรา ฟิก ที่ สวย งาม และ ตัว หนังสือ ที่ คม ชัด มี ชุด แบบ อักษร หลาย ชุด เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ระดับ สูง จะ มี ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ สูง ขึ้น คือ ตั้ง แต่ 20 หน้า ต่อ นาที ไป จน ถึง 70 หน้า ต่อ นาที เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ระดับ สูง นี้ จะ มี ราคา แพง ไม่ เหมาะ ต่อ การ นำ มา ใช้ งาน ใน สำนัก งาน ทั่ว ไป
เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ยัง มี การ พัฒนา ต่อ ไป โปรแกรม สร้าง ภาพกรา ฟิก จะ มี ขีด ความ สามารถ สูง ขึ้น สามารถ สร้าง และ วาด ภาพ ใน ลักษณะ เป็น ชิ้น ส่วน วัตถุ มา ผสม ผสาน กัน ให้ ดู สวย งาม ยิ่ง ขึ้น โปรแกรม ต่าง ๆ จะ ต้อง แปลง ข้อ มูล ภาพ มา เป็น จุด ภาพ แล้ว จึง ส่ง ข้อ มูล จุด ภาพ ไป ยังเครื่องพิมพ์ ภาพ ที่ สร้าง และ แสดง ผล ออก ที่เครื่องพิมพ์ จะ ใช้ เวลา ยาว นาน หลาย นาที ต่อ ภาพ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ยุค ใหม่ จะ มี หน่วย ประมวล ผล หรือ ไมโคร โพรเซสเซอร์อยู่ ภาย ใน สำหรับร ับข้อ มูล ภาพ เพื่อ แบ่ง เบา ภาระ งาน ของ
คอมพิวเตอร์ ขณะ เดียว กัน จะ มี หน่วย ความ จำ ขนาด ใหญ่ ขึ้น สำหรับ เก็บ ข้อ มูล ภาพ ได้ มาก ขึ้น
คำ สั่ง หรือ ภาษา เพื่อ อธิบาย ข้อ มูล ภาพ ที่ นิยม ใช้กับเครื่องเลเซอร์ รุ่น ใหม่ นี้ ส่วน ใหญ่ จะ ใช้ ภาษา โพสท์คริปต์ จน นิยม เรียกเครื่องพิมพ์ นี้ ว่า เครื่องพิมพ์ โพสท์คริปต์
ใน การ เลือก ซื้อเครื่องพิมพ์ เลเซอร์ มา ใช้ งาน จะ ต้อง พิจารณา คุณ ลักษณะ ต่าง ๆ ดัง นี้
1. คุณภาพ ของ การ พิมพ์ หน่วย บอก คุณภาพ จะ ระบุ เป็น จุด ภาพ เริ่ม จาก 300 จุด ภาพ ต่อ นิ้ว ขึ้น ไป จน ถึง 600 จุด ภาพ ต่อ นิ้ว ถ้า จำนวน จุด ภาพ ต่อ นิ้ว สูง มาก เท่า ใด ก็ ยิ่ง ทำ ให้ ภาพ คม ชัด มาก ขึ้น เท่า นั้น
2. ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ระดับ ใช้ งาน ทั่ว ไป จะ มี อัตรา ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ ประมาณ 6 ถึง 24 หน้า ต่อ นาที ซึ่ง อัตรา ความ เร็ว ของ การ พิมพ์ ตาม ที่ ระบุ ไว้ ใน คุณ ลักษณะ ของเครื่องอาจ จะ ไม่ ถูก ต้อง นัก ผู้ ใช้ อาจ ทด สอบ ความ เร็ว ด้วย งาน พิมพ์ ต่าง ๆ กัน เช่น พิมพ์ เอก สาร แบบ ไม่ เว้น บรรทัด เอก สาร แบบ เว้น บรรทัด และ ภาพกรา ฟิก โดย มี ชุด แบบ อักษร ต่าง ๆ กัน แล้ว จด บัน ทึก เวลา เพื่อ เปรียบ เทียบ ผล
3. หน่วย ความ จำ ของเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ จะ มี หน่วย ความ จำ สำหรับ เก็บ ข้อ มูล ตัว อักษร และ ภาพ เอา ไว้ ตาม ปกติ จะ มี หน่วย ความ จำ อยู่ 512 กิโลไบต์ถึง 1 เมกะไบต์ และ สามารถ ขยาย เพิ่ม เติม ได้ อีก เครื่องที่ มี หน่วย ความ จำ สูง กว่า ราคา แพง กว่า จะ ทำ งาน ได้ เร็ว กว่า เพราะ คอมพิวเตอร์ สามารถ ส่ง ข้อ มูล ภาพ ไป พิมพ์ ได้ ทัน ที ไม่ ต้อง เสีย เวลา ส่ง ข้อ มูล หลาย ๆ ครั้ง
เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก โดยหัวพิมพ์ ซึ่งเป็นตลับหมึกของเครื่องพิมพ์ จะมีรูเล็กๆ ไว้พ่นหมึกลงบนกระดาษ ใช้หลักการพ่นหมึกลงในตำแหน่งที่ต้องการ โดยการควบคุมด้วย ไฟฟ้าสถิตย์จากคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่เกิดเสียงดัง ในขณะใช้งาน และยังสามารถพ่นหมึกเป็นสีต่างๆ เป็นเครื่องพิมพ์สีได้อีกด้วย
คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจาก หน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะแบนเรียบทั้งตัวเครื่อง) จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดงสะท้อนได้ดี กว่าทำให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตาเมื่อต้องทำงานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควรทำให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้ และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต
การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่ง ที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า การ์ดสำหรับแสดงผลจอภาพ (Display Adapter Card) เป็นวงจรภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานร่วมกับจอภาพ
จำนวนสีที่สามารถแสดงบนจอภาพได้นั้นเป็นตัวกำหนดว่าภาพบนจอจะมีสีสรรสมจริงเพียงใดโดยจอ VGA (Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 640X480 พิกเซล จอ SVGA (Super Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 800X600 พิกเซล จอภาพในปัจจุบันเกือบทั้งหมดใช้จอระดับนี้แล้วจอภาพที่ แสดงจำนวนสี 65,536 หรือ 16 บิตสี จะแสดงความสมจริงได้ดีพอสมควร เหมาะสำหรับงานการฟฟิก มัลติมีเดีย และสิ่งพิมพ์ ส่วนจอภาพที่แสดงจำนวนสี 16,777,216สีจะให้สีสมจริงตามธรรมชาติ สีระดับนี้เหมาะสำหรับงาน ตกแต่งภาพและงานสิ่งพิมพ์ระดับสูง
LCD นี้ย่อมาจาก Liquid Crystal Display ซึ่งหมายความว่า มอนิเตอร์แบบนี้ เป็นแบบผลึกเหลว ผลึกเหลวนี้เป็นสสารที่แทบจะเรียกได้ว่าโปร่งใส และมีคุณสมบัติ ก้ำกึ่งระหว่างของแข็ง และของเหลว คือว่า เมื่อตอนอยู่เฉยๆ เนี่ย ผลึกเหลวจะอยู่ในสถานะ ของเหลว แต่เมื่อมีแสงผ่านมา ก็จะเกิด การจัดเรียงโมเลกุลใหม่ ผลึกเหลวก็จะมีคุณสมบัติ เป็นของแข็งแทน ส่วนแสงที่ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว ก็จะกลับมามีคุณสมบัติเป็นของเหลว เหมือนเดิม
สำหรับปัจจุบันนี้ มอนิเตอร์ LCD นั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นมอนิเตอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โน้ตบุ๊ค และ PDA (พวกเครื่องปาล์ม)รวมไปถึงก้าวมามีบทบาทแทนที่มอนิเตอร์แบบ
CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆ ก็คือ
Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
Thin Flim Transistor (TFT)
จอ LCD แบบ TFT หรือ Thin Film Transistor นั้นถูกพัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของ จอ LCD แบบ DSTN โดยเป็นแบบ Active Matrix ทำให้มีการตอบสนอง ต่อการ เปลี่ยนแปลงของภาพที่เร็ว และมีความคมชัดขึ้น รวมทั้งมอนิเตอร์แบบ TFTจะมีรูปร่างบางกว่า มอนิเตอร์แบบ LCDปกติ จึงทำให้มันมีน้ำหนักเบากว่า และอัตรารีเฟรชของภาพก็ใกล้เคียง กับมอนิเตอร์แบบCRT เนื่องจากว่ากระแสไฟฟ้านั่นวิ่งเร็วกว่าจอ LCD แบบ DSTN
เปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยระหว่างมอนิเตอร์แบบ LCD กับ มอนิเตอร์แบบ CRT
|
LCD
|
CRT
| |
|
ดีกว่ามากเมื่อเทียบขนาดเดียวกัน
| |
|
มีแค่ 49-100 องศา
|
มีมุมมองกว้างถึง >190 องศา
|
|
สบายตา
|
สว่างมาก (แสบตาถ้าต้องเพ่งนานๆ)
|
|
แบบ(TFT)ใกล้เคียง CRT
|
มีอัตราเร็วที่สุด
|
|
ประหยัด
|
กินไฟ
|
|
มีอัตราการแผ่รังสี =0
|
มีการแผ่รังสี
|
|
ใช้พื้นที่น้อยนิด
|
ใช้พื้นที่ในการวางมากกว่า
|
|
ประมาณ 6.85 ปี (2,500วัน)
|
6-8 ปี
|
ข้อควรจำ
ใครที่ชอบเปิดคอมฯ และมอนิเตอร์ไว้เป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ใช้งาน อย่าลืมใช้ screen saver เพราะการที่ ลำแสง อิเล็คตรอนถูกยิงออกมาเพื่อ ฉายภาพเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกเรื่อยๆ จะทำให้เจ้าสารเรืองแสงที่เคลือบอยู่ที่ผิวจอ
เสื่อมได้ การใช้ screen saver ก็จะทำให้ลำแสงที่ยิงออกมาเปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ ไม่ได้ฉายซ้ำอยู่ที่เดียวค่ะ
เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)
เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอนหรือการประชุม เนื่องจากสามารถนำเสนอข้อมูลให้ผู้ชม จำนวนมากเห็นพร้อม ๆ กัน อุปกรณ์ ฉายภาพในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่สามารถต่อสัญญาณจาก คอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector) ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใสแผ่นหนึ่ง
อุปกรณ์ฉายภาพก็จะมีข้อแตกต่างกันมากในเรื่องของกำลังส่องสว่าง เนื่องจากยิ่งมีกำลังส่องสว่างสูง ภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากขึ้น กำลังส่องสว่างมีหน่วยวัดค่าอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ ANSI LUMEN โดยการวัดแบบ LUX จะวัดค่าความสว่างที่จุกี่งกลางของภาพ จึงได้ค่าความสว่างสูงที่สุดเมื่อเทียบกับอีก 2 แบบ การวัดแบบ LUMEN จะแบ่งภาพออกเป็น 3 ส่วน คือ บน กลาง และ ล่าง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ ริมซ้าย กลาง และ ริมขวา รวมจุดภาพทั้งหมด 9 จุด แล้วจึงใช้ค่าเฉลี่ยของความสว่างทั้ง 9 จุดคิดออกมาเป็นค่า LUMEN ส่วนการวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมาตรฐานสูงสุด โดยใช้วิธีเดียวกับ LUMEN แต่จะกำหนด ขนาดจอภาพไว้คงที่คือ 40 นิ้ว(หากไม่กำหนด การวัดค่าความสว่างจะสูงขึ้นเมื่อจอภาพมีขนาดเล็กลง)
เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)
ลำโพง
เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลข้อมูลเสียง โดยต้องใช้งานคู่กับอุปกรณ์ ที่เรียกว่า การ์ดเสียง (sound card) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรกนิกส์ที่เสียบอยู่กับเมนบอร์ด ภายในตัวถัง หรือที่เรียกว่าเคท (cartridge) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัวนี้ทำหน้าที่แปลง สัญญาณดิจิทัลที่ส่งมาจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นสัญญาญแอนาล็อก แล้วส่งผ่านไปยัง ลำโพง ซึ่งจะแปลงสัญญาณที่ได้รับ เป็นเสียงให้เราได้ยิน ไม่ว่าจะเป็นเสียงเพลง หรือ เสียงเตือนถึงข้อผิดพลาด
speaker
เครื่องพิมพ์ แบบ จุด
การ
การ สั่ง งาน ที่ แป้น สั่ง งาน บนเครื่อ ง ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ ส่วน ใหญ่ จะ มี ปุ่ม ควบ คุม การ สั่ง งาน อยู่ บนเครื่องและ มี จอ ภาพ แอลซี ดี ขนาด เล็ก เพื่อ แสดง ภาวะ การ ทำ งาน
เครื่องพิมพ์ เลเซอร์
เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก (Ink Jet Printer)
เครื่องพิมพ์ประเภทนี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ตามเทคโนโลยีของผู้ผลิต เช่น Bubble Jet, Desk Jet Printer เป็นต้น เป็นเครื่องพิมพ์ที่ราคาไม่สูงมากนัก ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างสูง
คุณภาพของเครื่องพิมพ์
ความเร็วในการพิมพ์ ประมาณ 0.5 ถึง 12 หน้าต่อนาที (pages per minutes : ppm.)
ความละเอียดในการพิมพ์ ประมาณ 180 - 1440 จุดต่อนิ้ว (dot per inch : dpi)
หมึกพิมพ์
ความละเอียดในการพิมพ์ ประมาณ 180 - 1440 จุดต่อนิ้ว (dot per inch : dpi)
หมึกพิมพ์
หมึกของเครื่องพิมพ์ จะเก็บไว้ในตลับ สามารถเปลี่ยนตลับใหม่ได้ ปัจจุบันมีวิธีฉีดสีเข้าไปในตลับ แทนที่จะเปลี่ยนตลับ ทำให้ประหยัดต่อผู้ใช้ โดยสีที่ใช้ประกอบด้วย แม่สีฟ้า (Cyan) แม่สีม่วง (Magenta) และแม่สีเหลือง (Yellow) โดยสีดำจะเกิดจากการผสมของแม่สีทั้งสามสี ซึ่งไม่ดำสนิท เหมือนตลับหมึกสีดำเฉพาะ
เครื่องวาด (Plotter)
Plotter เป็นอุปกรณ์แสดงข้อมูลที่มักจะใช้กับงานออกแบบ (CAD) โดยจะแปลงสัญญาณข้อมูล เป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้ง ก่อนพิมพ์ลงบนกระดาษ ทำให้แสดงผลเป็นกราฟแผนที่ แผนภาพต่าง ๆ ได้ โดยตัวพล็อตเตอร์ จะมีปากกามากกว่า 1 ด้าม เคลื่อนไปมา ด้วยการควบคุมของคอมพิวเตอร์ โดยปากกา แต่ละด้ามจะมีสี, และขนาดเส้นที่ต่างกัน ทำให้ได้ภาพที่สวยงาม มีคุณภาพสูง และขนาดตามขนาด ของเครื่องพล็อตเตอร์ | ||
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น